![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiFkV5ol4sB-UO-6GJL_ymWb_b1yLpfFdRZRrkfP_94YcQV58xlezAkxqk_AwGVCFVBGWI4gzPy4vJU0fA0oAw5-rEjeaM1j6ueVdyIiEx1buW1hA4-Aqh0ousLC2WNlrxMdg_OfOz_gVA/s640/You%2527re+my+good+friend+for+life.+Let%2527s+celebrate+like+we+always+do%2521+Hugs+and+kisses%252C+Kittipong+%25282%2529.jpg)
Pangaea.
วันพฤหัสบดีที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2562
เฟรนชิบ6/15
1.ปรมัตถ์ เรืองรุ่ง
2.กิตติพงษ์ งามวงษ์
3.ณํฐวุฒิ พงษ์นะเจรืญกุล
4.กานต์พงศ์ พูลสวัสดิ์
5.รชฏ อนันทวรรณ
6.สรืต เสียงดี
7.คุนานนต์ วรพรม
8.ภานุพงศ์ กิจพงศ์พาณิชน์
9.ธีรชัย ใจฟู
10.พัสกร แย้มเกษร
11.สรัช สวัสดีแป้น
12.อนุชิต ขุนกนก
13.ณัฐวุฒิ โห้พลอย
14.ณัฐกฆษ พรมโชติ
15.ปริญ บุณยเลขา
16.เทพพิทักษ์ สาบชุ่มดี
17.นันทพัธ์ นิธินันต์ภักดี
18.ลภัสกร พะโว
19.ศตวรรษ งามสมโศรก
20.สุวิจักขณ์ ขุนทอง
21.รัตน์ฐาอร วิริยะกุล
22.ศศิธร เนยคำ
23.ศิริวรรณ มณีแแก้ว
24.ภัคธีมา เพชนดอน
25.นารีรัตน์ ทองอยู่
26.สุชาดา โอชารส
27.กัลยาลักษณ์ วงษ์สุด
28.นรมน เชื้อกุล
29.พรนภา ปาณินทร์
30.ศกาวรัตน์ รุ่งเจริญ
31.นราพร ชุ่มชวย
32.กรรณิการ์ คำแหงพล
33.ณิชากานต์ กลิ่นสวัสดิ์
34.ณิชาพัชร์ แสงอ่อน
35.ตระการตา รุ่งแกร
36.สุชาดา แจวสกุล
2.กิตติพงษ์ งามวงษ์
3.ณํฐวุฒิ พงษ์นะเจรืญกุล
4.กานต์พงศ์ พูลสวัสดิ์
5.รชฏ อนันทวรรณ
6.สรืต เสียงดี
7.คุนานนต์ วรพรม
8.ภานุพงศ์ กิจพงศ์พาณิชน์
9.ธีรชัย ใจฟู
10.พัสกร แย้มเกษร
11.สรัช สวัสดีแป้น
12.อนุชิต ขุนกนก
13.ณัฐวุฒิ โห้พลอย
14.ณัฐกฆษ พรมโชติ
15.ปริญ บุณยเลขา
16.เทพพิทักษ์ สาบชุ่มดี
17.นันทพัธ์ นิธินันต์ภักดี
18.ลภัสกร พะโว
19.ศตวรรษ งามสมโศรก
20.สุวิจักขณ์ ขุนทอง
21.รัตน์ฐาอร วิริยะกุล
22.ศศิธร เนยคำ
23.ศิริวรรณ มณีแแก้ว
24.ภัคธีมา เพชนดอน
25.นารีรัตน์ ทองอยู่
26.สุชาดา โอชารส
27.กัลยาลักษณ์ วงษ์สุด
28.นรมน เชื้อกุล
29.พรนภา ปาณินทร์
30.ศกาวรัตน์ รุ่งเจริญ
31.นราพร ชุ่มชวย
32.กรรณิการ์ คำแหงพล
33.ณิชากานต์ กลิ่นสวัสดิ์
34.ณิชาพัชร์ แสงอ่อน
35.ตระการตา รุ่งแกร
36.สุชาดา แจวสกุล
วันเสาร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
หน้าแรก Home
โปรไฟล์นักเรียน
คลิปวิดีโอศาสตร์พระราชา
เฟรนชิบ 6/15
คลิปวิดีโอศาสตร์พระราชา
เฟรนชิบ 6/15
5อันดับอาหารไทยอร่อยระดับโลก
มัสมั่น
ต้มยำกุ้ง
ส้มตำ
ก๋วยเตี๋ยว
ผัดไทย
ผัดไทย
จุดเริ่มต้นผัดไทยของไทย
ผัดไทยได้กลายเป็นที่รู้จักของคนต่างชาติในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นซึ่งเป็นช่วงเดียวกับสงครามโลกครั้งที่ 2 ท่านได้รณรงค์ให้ประชาชนหันมานิยมรับประทานก๋วยเตี๋ยว เพื่อลดการบริโภคข้าวภายในประเทศ เนื่องจากในช่วงนั้นสภาวะเศรษฐกิจของประเทศตกต่ำ ข้าวแพง
แต่เพราะกระแสชาตินิยมที่มองว่าก๋วยเตี๋ยวเป็นอาหารจีนจึงได้รังสรรค์ให้ผัดไทยเป็นอาหารไทย ทั้งนี้ผัดไทยในยุคนั้นจะไม่มีหมูเป็นส่วนประกอบ เพราะมองว่าหมูเป็นอาหารของคนจีน และเรียกเปลี่ยนชื่อ "ก๋วยเตี๋ยวผัด" เป็น "ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย" ตามชื่อใหม่ของประเทศ ปัจจุบันเรียกกันโดยย่อเหลือเพียงแค่ "ผัดไทย"
ก๋วยเตี๋ยว
สันนิษฐานกันว่าก๋วยเตี๋ยวในประเทศไทยมีมาเมื่อประมาณสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช [1] ซึ่งเป็นช่วงที่ไทยมีการติดต่อกับชาวต่างชาติมากมาย และชาวจีนก็ได้นำเอาก๋วยเตี๋ยวเข้ามากินกันในเรือ โดยต้มในน้ำซุป มีการใส่หมู ใส่ผักและเครื่องปรุงเพื่อความอร่อย แต่สำหรับคนไทยแล้วถือว่าเป็นสิ่งที่แปลกใหม่ในยุคนั้น และได้นำมาประกอบเป็นอาหารอื่นๆ บริโภคกันจนมีความเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี และเริ่มมีการทำเส้นก๋วยเตี๋ยวในประเทศไทย
ในสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีนโยบายรัฐนิยมที่สนับสนุนให้ประชาชนบริโภคก๋วยเตี๋ยว ซึ่งจอมพล ป. เห็นว่าหากประชาชนหันมาร่วมกันบริโภคก๋วยเตี๋ยว จะเป็นการช่วยเหลือเศรษฐกิจของชาติในตอนนั้น เพื่อให้เงินหมุนเวียนในประเทศ
ส้มตำ
หากพูดถึงอาหารไทยที่มีรสชาติจัดจ้านถึงใจ นอกจากจะนึกถึงต้มยำแล้ว เชื่อว่าส้มตำก็เป็นชื่อที่คนนึกถึงเป็นอันดับต้นๆเช่นกัน ส้มตำเป็นเมนูอาหารที่หลายคนโปรดปราน โดยเฉพาะทางภาคอีสานที่กินได้ทุกวัน ซึ่งจัดว่าเป็นเมนูอาหารประจำภาคอีสานของเราเลยก็ว่าได้ รสชาติของส้มตำนั้นมีเอกลักษณ์ก็คือความแซ่บ เผ็ด ร้อน จนบางครั้งอาจถึงขั้นน้ำตาไหลกันเลยก็ได้ และนั่นคือเสน่ห์ที่ทำให้หลายคนติดใจส้มตำกันมาแล้ว นอกจากนี้ส้มตำยังเป็นเมนูที่เหมาะกับคนลดน้ำหนักอีกด้วย ส้มตำจึงเป็นเมนูโปรดของใครหลายคน แถมยังมีประโยชน์มากมาย แต่เคยสงสัยหรือไม่ว่า ประวัติส้มตำ อาหารรสแซ่บจัดจ้านนั้นมีที่มาอย่างไร แล้วทำไมถึงเรียกส้มตำทั้งที่วัตถุดิบไม่มีส้มเลยแม้แต่น้อย? ใครจะรู้บ้างว่า ส้มตำ หรือตำบักหุ่งที่ทั้งแซ่บทั้งนัวนั้นเป็นของนอก
วันศุกร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
มัสมั่น
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ได้ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานความว่า “มัสมั่นแกงแก้วตา หอมยี่หร่ารสร้อนแรง” จึงทราบได้ว่า แกงมัสมั่นได้รับอิทธิพลมาจากอินเดีย เพราะมีส่วนผสมเครื่องเทศที่ขาดไม่ได้อย่าง ลูกผักชี ยี่หร่า ลูกจัน ดอกจันทน์ เม็ดกระวาน กานพลู ซึ่งให้กลิ่นรสที่ร้อนแรง ในตำรับอินเดียจะใช้เฉพาะเครื่องเทศแห้งและไม่ใส่กะทิ แต่ตำรับของไทยมีการใช้สมุนไพรสดในพริกแกง และมีการปรุงรสให้ออกเค็ม หวาน มัน และถูกจัดให้เป็นอาหารอร่อยอันดับ 1 ของโลก โดยเว็บไซต์ ซีเอ็น เอ็น โก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
-
หากพูดถึงอาหารไทยที่มีรสชาติจัดจ้านถึงใจ นอกจากจะนึกถึงต้มยำแล้ว เชื่อว่าส้มตำก็เป็นชื่อที่คนนึกถึงเป็นอันดับต้นๆเช่นกัน ส้มตำเป็นเมนูอาห...